คำว่า Disease mongering อาจจะไม่คุ้นชินมากสำหรับคนในประเทศไทย หรือ “ส่งเสริมการขายยาเกินความจำเป็น” แต่สำหรับฝั่งยุโรปหรือชาวต่างชาติมองว่าปัญหา เพราะส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคอย่างมากทีเดียว โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับผลประโยชน์ที่ควรจะได้ ดังนั้นทางแพทย์จึงมองว่าเป็นเรื่องที่ไม่สมควรอย่างมาก เพราะมันสร้างผลกระทบต่อองค์การอาหารและยา โดย Disease mongering ถูกกำหนดขึ้นมาในปี พ.ศ. 1992
ส่วนใหญ่แล้วยามากมายมักจะขายโดยพ่อค้าแม่ค้าที่หาช่องทางในการนำยามาจากสถานที่ที่รับรองได้หรือบริษัทยา แพทย์ เพื่อหาผลกำไรและประโยชน์ให้กับตนเอง โดยในบางรายได้กล่าวอ้างสรรพคุณของตัวยาให้ดีเกินจริง หรืออวดอ้างว่ายาตัวนี้สามารถรักษาอาการต่างๆ ได้ โดยไม่ระยุผลข้างเคียงใดๆ เลย ซึ่งยาที่ถูกนำมาขายเพื่อประโยชน์ส่วนตัวโดยที่ไม่ได้ผ่านการจ่ายยาโดยแพทย์มีมากมายหลายประเภท ทั้งยาแก้โรคกระดูกพรุน, ยาช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ, ยาแก้อาการผิดปกติต่างๆ ซึ่งยาทั้งหลายเหล่านี้จากผลการวิจัยจากออสเตรเลีย ระบุว่า มันสามารถก่อให้เกิดผลข้างเคียงอย่างร้ายแรงได้ อาทิเช่น ยาเสริมฮอร์โมนเพศชาย มีผลข้างเคียงด้านโรคหัวใจ
แม้ประเทศจะไม่พบ Disease mongering มากนัก แต่บางครั้งแพทย์จำนวนไม่น้อยก็ทำการจ่ายยาที่เกิดความจำเป็น อาจเพราะกาจ่ายยามักจะถูกกำหนดที่ตายตัว ดังนั้นการเลือกใช้ Disease mongering อาจจะสร้างผลประทบที่ไม่ดี ดังนั้นทางการแพทย์ส่วนใหญ่มองว่าการจ่ายยาลักษณะ Medicalization การสร้างผลประโยชน์แก่คนไข้ที่ดีกว่าเดิม นี่เป็นเพียงบทความเบื้องต้นของ Disease mongering เท่านั้น